วันศุกร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่ 16




บันทึกอนุทินครั้งที่ 16


วิชา     การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤณ   แจ่มทิน


วัน/เดือน/ปี วันที่ 27 เดือนกันยายน  พ.ศ  2556


ครั้งที่ 16   เวลา 13.00 - 16.30 น.


เวลาเข้าสอน  13.00 น. เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 16.40 น.



สรุปแผนผังความคิดที่เรียนตั้งแต่ต้นเทอม







วันศุกร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15




บันทึกอนุทินครั้งที่ 15


วิชา     การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤณ   แจ่มทิน


วัน/เดือน/ปี วันที่ 20 เดือนกันยายน  พ.ศ  2556


ครั้งที่ 15 เวลา 13.00 - 16.30 น.


เวลาเข้าสอน  13.00 น. เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 16.40 น.

กิจกรรมในการสอนเด็ก แผนการเรียนรู้ 














บันทึกอนุทินครั้งที่ 14




บันทึกอนุทินครั้งที่ 14


วิชา     การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤณ   แจ่มทิน


วัน/เดือน/ปี วันที่ 13 เดือนกันยายน  พ.ศ  2556


ครั้งที่ 14 เวลา 13.00 - 16.30 น.


เวลาเข้าสอน  13.00 น. เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 16.40 น.
















วันจันทร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13



บันทึกอนุทินครั้งที่ 13 


วิชา     การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤณ   แจ่มทิน


วัน/เดือน/ปี วันที่ 6 เดือนกันยายน  พ.ศ  2556


ครั้งที่ 13 เวลา 13.00 - 16.30 น.


เวลาเข้าสอน  13.00 น. เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 16.40 น.



                       การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมประสบการณ์ทางภาษา
               - สร้างสภาพแวดล้อมให้เด็กคุ้นเคยกับการใช้ภาษาอย่างมีความหมายและเป็นองค์รวม
               - เด็กได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะทางภาษาโดยไม่เน้นเนื้อหาทางภาษา

                       หลักการ ( หรรษา นิลวิเชียร, 2535 )
               - สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของเด็ก ส่งเสริมให้เด็กสำรวจปฏิบัติจริง เป็นผู้กระทำด้วยตนเอง เปิดโอกาสให้เด็กเป็นอิสระได้สังเกตและตั้งสมมุติฐาน
               - สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับบุคคลรอบข้าง เด็กควรได้สื่อสารสองทาง
               - สิ่งแวดล้อมที่เน้นความหมายมากกว่ารูปแบบ ควรยอมรับการสื่อสารของเด็กในรูปแบบต่างๆ โดยคำนึงถึงความหมายที่เด็กต้องการสื่อมากกว่าความถูกต้องทางไวยากรณ์
               - สิ่งแวดล้อมประกอบด้วยความหลากหลายทั้งด้านวาจาและไม่ใช่วาจา เด็กควรได้รับการมีประสบการณ์และปฏิสัมพันธ์หลายๆรูปแบบ
                        
                         มุมประสบการณ์ที่สนับสนุนการเรียนรู้และสาระทักษะทางภาษา
               - มุมหนังสือ
               - มุมบทบาทสมมุติ
               - มุมศิลปะ
               - มุมดนตรี
               - ฯลฯ

                         ลักษณะของการจัดมุมในชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมทักษะทางภาษา
               - มีพื้นที่สามารถให้เด็กทำกิจกรรมได้ 
               - เด็กรู้จักผ่อนคลายเมื่ออยู่ในห้อง
               - บริเวณใกล้ๆ มีอุปกรณ์เครื่องเขียน เช่น ดินสอ สี กระดาษ กรรไกร กาว
               - เด็กมีส่วนร่วมในการวางแผน ออกแบบ
                         
                          มุมหนังสือ
               - มีชั้นวางหนังสือประเภทต่างๆ ที่เหมาะสมกับวัย
               - มีบรรยากาศดี สงบ และอบอุ่น
               - มีพื่้นที่ในการอ่านลำพังและเป็นกลุ่ม
               - มีอุปกรณ์สำหรับการเขียน
                
                           มุมบทบาทสมมติ
               - มีอุปกรณ์ที่สามารถให้เด็กเข้าไปเล่นได้
               - มีพื้นที่ที่เพียงพอ

                           มุมศิลปะ
               - จัดอุปกรณ์ที่หลากหลาย เช่น สีเมจิก ดินสอ ยางลบ ตรายาง ซองจดหมาย ฯลฯ
               - กรรไกร กาว สำหรับงานตัดและและปะติด

                            มุมดนตรี
              - มีเครื่องดนตรีทั้งที่เป็นของเล่นและของจริง เช่น กลอง ฉิ่ง ระนาด ขลุ่ย กรับ เครื่องเคาะจังหวะ

























บันทึกอนุทินครั้งที่ 12




บันทึกอนุทินครั้งที่ 12 


วิชา     การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤณ   แจ่มทิน


วัน/เดือน/ปี วันที่ 30  เดือนสิงหาคม  พ.ศ  2556


ครั้งที่ 12 เวลา 13.00 - 16.30 น.


เวลาเข้าสอน  13.00 น. เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 16.40 น.


เกมส์การศึกษา