วันศุกร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่ 16




บันทึกอนุทินครั้งที่ 16


วิชา     การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤณ   แจ่มทิน


วัน/เดือน/ปี วันที่ 27 เดือนกันยายน  พ.ศ  2556


ครั้งที่ 16   เวลา 13.00 - 16.30 น.


เวลาเข้าสอน  13.00 น. เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 16.40 น.



สรุปแผนผังความคิดที่เรียนตั้งแต่ต้นเทอม







วันศุกร์ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่ 15




บันทึกอนุทินครั้งที่ 15


วิชา     การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤณ   แจ่มทิน


วัน/เดือน/ปี วันที่ 20 เดือนกันยายน  พ.ศ  2556


ครั้งที่ 15 เวลา 13.00 - 16.30 น.


เวลาเข้าสอน  13.00 น. เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 16.40 น.

กิจกรรมในการสอนเด็ก แผนการเรียนรู้ 














บันทึกอนุทินครั้งที่ 14




บันทึกอนุทินครั้งที่ 14


วิชา     การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤณ   แจ่มทิน


วัน/เดือน/ปี วันที่ 13 เดือนกันยายน  พ.ศ  2556


ครั้งที่ 14 เวลา 13.00 - 16.30 น.


เวลาเข้าสอน  13.00 น. เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 16.40 น.
















วันจันทร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่ 13



บันทึกอนุทินครั้งที่ 13 


วิชา     การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤณ   แจ่มทิน


วัน/เดือน/ปี วันที่ 6 เดือนกันยายน  พ.ศ  2556


ครั้งที่ 13 เวลา 13.00 - 16.30 น.


เวลาเข้าสอน  13.00 น. เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 16.40 น.



                       การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมประสบการณ์ทางภาษา
               - สร้างสภาพแวดล้อมให้เด็กคุ้นเคยกับการใช้ภาษาอย่างมีความหมายและเป็นองค์รวม
               - เด็กได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะทางภาษาโดยไม่เน้นเนื้อหาทางภาษา

                       หลักการ ( หรรษา นิลวิเชียร, 2535 )
               - สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ของเด็ก ส่งเสริมให้เด็กสำรวจปฏิบัติจริง เป็นผู้กระทำด้วยตนเอง เปิดโอกาสให้เด็กเป็นอิสระได้สังเกตและตั้งสมมุติฐาน
               - สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับบุคคลรอบข้าง เด็กควรได้สื่อสารสองทาง
               - สิ่งแวดล้อมที่เน้นความหมายมากกว่ารูปแบบ ควรยอมรับการสื่อสารของเด็กในรูปแบบต่างๆ โดยคำนึงถึงความหมายที่เด็กต้องการสื่อมากกว่าความถูกต้องทางไวยากรณ์
               - สิ่งแวดล้อมประกอบด้วยความหลากหลายทั้งด้านวาจาและไม่ใช่วาจา เด็กควรได้รับการมีประสบการณ์และปฏิสัมพันธ์หลายๆรูปแบบ
                        
                         มุมประสบการณ์ที่สนับสนุนการเรียนรู้และสาระทักษะทางภาษา
               - มุมหนังสือ
               - มุมบทบาทสมมุติ
               - มุมศิลปะ
               - มุมดนตรี
               - ฯลฯ

                         ลักษณะของการจัดมุมในชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมทักษะทางภาษา
               - มีพื้นที่สามารถให้เด็กทำกิจกรรมได้ 
               - เด็กรู้จักผ่อนคลายเมื่ออยู่ในห้อง
               - บริเวณใกล้ๆ มีอุปกรณ์เครื่องเขียน เช่น ดินสอ สี กระดาษ กรรไกร กาว
               - เด็กมีส่วนร่วมในการวางแผน ออกแบบ
                         
                          มุมหนังสือ
               - มีชั้นวางหนังสือประเภทต่างๆ ที่เหมาะสมกับวัย
               - มีบรรยากาศดี สงบ และอบอุ่น
               - มีพื่้นที่ในการอ่านลำพังและเป็นกลุ่ม
               - มีอุปกรณ์สำหรับการเขียน
                
                           มุมบทบาทสมมติ
               - มีอุปกรณ์ที่สามารถให้เด็กเข้าไปเล่นได้
               - มีพื้นที่ที่เพียงพอ

                           มุมศิลปะ
               - จัดอุปกรณ์ที่หลากหลาย เช่น สีเมจิก ดินสอ ยางลบ ตรายาง ซองจดหมาย ฯลฯ
               - กรรไกร กาว สำหรับงานตัดและและปะติด

                            มุมดนตรี
              - มีเครื่องดนตรีทั้งที่เป็นของเล่นและของจริง เช่น กลอง ฉิ่ง ระนาด ขลุ่ย กรับ เครื่องเคาะจังหวะ

























บันทึกอนุทินครั้งที่ 12




บันทึกอนุทินครั้งที่ 12 


วิชา     การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ตฤณ   แจ่มทิน


วัน/เดือน/ปี วันที่ 30  เดือนสิงหาคม  พ.ศ  2556


ครั้งที่ 12 เวลา 13.00 - 16.30 น.


เวลาเข้าสอน  13.00 น. เวลาเข้าสอน 13.00 น. เวลาเลิกเรียน 16.40 น.


เกมส์การศึกษา











วันพุธที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่ 11



บันทึกอนุทินครั้งที่ 11


วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย




อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มทิน




วัน/เดือน/ปี วันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2556




ครั้งที่ 11 เวลา 13.00 - 16.30 น.




เวลาเข้าสอน 13.10 น. เวลาเข้าสอน 13.10 น. เวลาเลิกเรียน 16.40 น.



                สื่อการเรียนรู้ทางภาษา
          ความหมาย
         - วัสดุ อุปกรณ์หรือวิธีการต่างๆ
         - เพื่อกระตุ้น ส่งเสริม จูงใจ ให้เด็กเกิดความสนใจ
         - ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ทางภาษา
         - เครื่องมือที่ครูกำหนดขึ้น เพื่อถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเนื้อหา ประสบการณ์ แนวคิด ทักษะ เจตคติ
        
          ความสำคัญของสื่อการเรียนรู้ทางภาษา
          - เด็กเรียนรู้ได้ดีจากประสาทสัมผัส
          - เข้าใจได้ง่าย
          - เป็นรูปธรรม
          - จำได้ง่าย เร็วและนาน

          ประเภทของสื่อการสอน
      1. สื่อสิ่งพิมพ์
          - สื่ิอที่ใช้ระบบการพิมพ์
          - เด็กได้เรียนรู้ตัวอักษร การใช้คำ ประโยค
          - หนังสือนิทาน หนังสือพิมพ์ แผ่นพับ นิตยสาร แบบฝึกหัด พจนานุกรม
     2. สื่อวัสดุอุปกรณ์
          - สิ่งของต่างๆ
          - ของจริง หุ่นจำลอง แผนที่ แผนภูมิ ตาราง สถิติ กราฟ
    3. สื่อโสตทัศนูปกรณ์
          - สื่อที่นำเสนอด้วยเครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ
          - คอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นแผ่น
    4. สื่อกิจกรรม
          - วิธีการที่ใช้ในการฝึกปฎิบัติ ทักษะ
          - ใช้กระบวนการคิด การปฎิบัติ การเผชิญสถานการณ์
          - เกม เพลง การสาธิต สถานการณ์จำลอง การแสดงละคร การจัดนิทรรศการ การแสดงผลงาน ทัศนศึกษา
     5. สื่อบริบท
         - สื่อที่ส่งเสริมการจัดประสบการณ์
         - สภาพแวดล้อม
         - ห้องเรียน บุคคล ชุนชม วัฒนธรรม
          





วันพุธที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่ 10

บันทึกอนุทินครั้งที่ 10


วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มทิน


วัน/เดือน/ปี วันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2556


ครั้งที่ 10 เวลา 13.00 - 16.30 น.


เวลาเข้าสอน 13.10 น. เวลาเข้าสอน 13.10 น. เวลาเลิกเรียน 16.40 น.





















บันทึกอนุทินครั้งที่ 9

บันทึกอนุทินครั้งที่ 9

วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มทิน


วัน/เดือน/ปี วันที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2556


ครั้งที่ 9 เวลา 13.00 - 16.30 น.


เวลาเข้าสอน 13.10 น. เวลาเข้าสอน 13.10 น. เวลาเลิกเรียน 16.40 น.
วันนี้หนูไม่ได้เข้าเรียน เนื่องจากมีธุระกลับบ้าน

บันทึกอนุทินครั้งที่ 8



บันทึกอนุทินครั้งที่ 8 

วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย


อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มทิน


วัน/เดือน/ปี วันที่ 2  สิงหาคม พ.ศ. 2556


ครั้งที่ 8 เวลา 13.00 - 16.30 น.


เวลาเข้าสอน 13.10 น. เวลาเข้าสอน 13.10 น. เวลาเลิกเรียน 16.40 น.


ไม่มีการเรียนการสอน
เนื่องจากสอบปลายภาค


วันพฤหัสบดีที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่7

บันทึกอนุทินครั้งที่ 7
วิชา   การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  อาจารย์ตฤณ  แจ่มทิน
วัน/เดือน/ปี วันที่ 26 กรกฏาคม  พ.ศ. 2556
 ครั้งที่ 7 เวลา 13.00 - 16.30 น.
เวลาเข้าสอน 13.10 น.  เวลาเข้าสอน  13.10 น.   เวลาเลิกเรียน  16.40 น.
       การประเมิน
      1. ใช้เครื่องมือในการประเมินที่หลากหลาย
     
      2. เน้นที่ความก้าวหน้าของเด็ก
        - บันทึกสิ่งที่เด็กทำได้
        - ทำให้สามารถส่งเสริมเด็กให้ก้าวไปสู่พัฒนาการทางภาษาในระดับที่สูงขึ้น
     
      3. ประเมินจากบริบทที่หลากหลาย
     
      4. ให้เด็กมีโอกาสประเมินตนเอง
     
      5. ครูให้ความสนใจทั้งกระบวนการและผลงาน
     
      6. ประเมินเด็กเป็นรายบุคคล
      ตัวอย่างกิจกรรมส่งเสริมทักษะทางภาษา
     
      - การเขียนตามคำบอกของเด็ก
      - ช่วยเด็กเขียนบันทึก
      - อ่านนิทานร่วมกัน
      - อ่านคำคล้องจอง
      - การร้องเพลง
 
     กิจกรรมที่อาจารย์ให้ทำก่อนการเรียนการสอน




ภาพที่ทำกิจกรรม






























   
     


วันพุธที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่ 6



บันทึกอนุทินครั้งที่ 6

วิชา  การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์  อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน

วัน/เดือน/ปี  วันที่ 19 เดือน กรกฎาคม  พ.ศ 2556

ครั้งที่ 6  เวลาเรียน 13.10-16.30 น.

เวลาเข้าสอน  13.10 น.  เวลาเข้าเรียน  13.10 น.  เวลาเลิกเรียน  16.40 น.


แนวทางการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย


                     1. การจัดประสบการณ์ทางภาษาที่เน้นทักษะทางภาษา

                        - ให้เด็กรู้จักส่วนย่อยๆของภาษา
                        -  การประสมคำ
                        -  ความหมายของคำ
                        -  นำคำมาประกอบเป็นประโยค
                        -  การแจกลูก สะกดคำ การเขียน
                        -  ไม่สอดคล้องกับธรรมชาติการใช้ภาษาของเด็ก
                        -  ไม่สอดคล้องกับลักษณะการเรียนรู้ภาษาของเด็ํก

                      Kenneth  Goodman

                        -  เสนอแนวทางการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
                        -  มีการเชื่อมโยงระหว่างภาษากับความคิด
                        -  แนวทางการสอนมีพื้นฐานจากการเรียนรู้และธรรมชาติของเด็ก
                        
                        ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย

                       -  สนใจ อยากรู้อยากเห็นสิ่งรอบๆตัว
                       -  ช่างสังเกต ช่างซักถาม
                       -  มีความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการ
                       -  ชอบเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ
                       -  เลียนแบบคนรอบข้าง

                      2. การสอนภาษาแบบธรรมชาติ ( Whole larguage )
                        Dewey / Piaget / Vygotsky / Haliday

                       -  เด็กเรียนรู้ภาษาจากประสบการณ์และการลงมือกระทำ
                       -  เด็กเรียนรู้จากกิจกรรม การเคลื่อนไหวของตนเองและการได้สัมผัสจับต้องกับสิ่งต่างๆ                              แล้วสร้างความรู้ขี้นมาด้วยตนเอง
                      -  อิทธิพลของสังคมและบุคคลอื่นๆ มีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
                      -  สอนแบบบูรณาการ/องค์รวม
                      -  สอนในสิ่งที่เด็กสนใจและมีความหมายสำหรับเด็ก
                      -  สอนสิ่งใกล้ตัวเด็กและอยู่ในชีวิตประจำวัน
                      -  สอดแทรกการฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน ไปพร้อมกับการทำกิจกรรม
                      -  ไม่เข้มงวดกับการท่อง สะกด
                      -  ไม่บังคับให้เด็กเขียน

                                หลักการของการสอนภาษาธรรมชาติ
                     
                       1. การจัดสภาพอากาศ
                       
                       -  ตัวหนังสือที่ปรากฎในห้องเรียนจะต้องมีเป้าหมายในการใช้จริง
                       -  หนังสือที่ใช้ จะต้องเป็นหนังสือที่ใช้ภาษาที่มีความหมายสมบูรณ์ในตัว
                       -  เด็กมีส่วนในการจัดสภาพแวดล้อม

                       2.  การสื่อสารที่มีความหมาย
                     
                       -  เด็กสื่อสารโดยมีพื้นฐานจากประสบการณ์จริง
                       -  เด็กอ่านและเขียนอย่างมีจุดมุ่งหมาย
                       -  เด็กได้ใช้เวลาในการอ่านและเขียนตามโอกาส

                      3.  การเป็นแบบอย่าง

                       -  ครูอ่านและเขียนโดยมีจุดมุ่งหมายในการใช้ให้เด็กเห็น
                       -  ครูเป็นแบบอย่างที่ดีให้เด็กเห็นการอ่านเป็นเรื่องสนุก
                      
                      4.  ความตั้งความคาดหวัง

                      -  ครูเชื่อมั่นว่าเด็กมีความสามารถในการอ่านและการเขียน
                      -  เด็กสามารถอ่าน เขียนได้ดีและถูกต้องยิ่งขึ้น
                      
                      5. การคาดคะเน

                       -  เด็กมีโอกาสที่จะทดลองกับภาษา
                       -  เด็กได้คาดเดาหรือคาดคะเนคำที่จะอ่าน
                       -  ไม่คาดหวังให้เด็กอ่านและเขียนได้เหมือนผู้ใหญ่

                     6.  การใช้ข้อมูลย้อนกลับ

                       -  ตอบสนองความพยายามในการใช้ภาษาของเด็ก
                       -  ยอมรับการอ่านและการเขียนของเด็ก
                       -  ตอบสนองเด็กให้เหมาะสมกับสถานการณ์

                     7.  การยอมรับนับถือ

                      -  เด็กแต่ละคนมีความแตกต่าง
                      -  เด็กได้เลือกกิจกรรมที่จะเรียนรู้ด้วยตนเอง
                      -  ในช่วงเวลาเดียวกันเด็กไม่จำเป็นต้องทำกิจกรรมอย่างเดียวกัน
                      -  ไม่ทำกิจกรรมตามลำดับขั้นตอน

                    8.  การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น

                     -  ให้เด็กรู้สึกปลอดภัยที่ใช้ภาษา
                     -  ครูจะต้องทำให้เด็กไม่กลัวที่จะขอความช่วยเหลือ
                     -  ไม่ตราหน้าเด็กว่าไม่มีความสามรถ
                     -  เด็กมีความเชื่อมั่นว่าตนมีความสามารถ


                      
ผู้ที่ถ่ายทอดความรู้


ผู้อำนวยความสะดวก


ผู้ร่วมทางการเรียนรู้ไปพร้อมๆกับเด็ก

                    
                    บทบาทครู

                   -  ครูคาดหวังเด็กแต่ละคนแตกต่างกัน
                   -  ใช้ประสบการณ์ตรงในการสนับสนุนการอ่านการเขียน
                   -  ครูควรยอมรับกับความไม่ถูกครบถ้วนของเด็ก
                   -  ครูสร้างความสนใจในคำและสื่งพิมพ์

                                    

        
                         


วันพุธที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5



บันทึกอนุทินครั้งที่ 5

วิชา  การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์  อาจารย์ตฤณ  แจ่มถิน

วัน/เดือน/ปี  วันที่ 12 เดือน กรกฎาคม  พ.ศ 2556

ครั้งที่ 5  เวลาเรียน 13.10-16.30 น.

เวลาเข้าสอน  13.10 น.  เวลาเข้าเรียน  13.10 น.  เวลาเลิกเรียน  16.40 น.



องค์ประกอบของภาษา
1.Phonology    – ระบบเสียงของภาษา
          -เสียงที่มนุษย์เปล่งออกมาเพื่อสื่อความหมาย
        -หน่วยเสียงจะประกอบขึ้นเป็นคำในภาษา
                 
              2.Semantic    - ความหมายของภาษาและคำศัพท์
            -คำศัพท์บางคำสามารถมีได้หลากหลายความหมาย
     -ความหมายเหมือนกันแต่ใช้คำศัพท์ต่างกัน
           
            3.Syntax       - ระบบไวยากรณ์
                 -การเรียงรูปประโยค

4.Pragmatic        - ระบบการนำไปใช้
                   -ใช้ภาษาให้ถูกต้องตามสถานการณ์และกาลเทศะ

แนวความคิดนักการศึกษา
1.แนวคิดกลุ่มพฤติกรรมนิยม
                                            ทฤษฎีการเรียนรู้ของ Skinner
      - สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางภาษา
      -ให้ความสำคัญกับสิ่งเร้าและการตอบสนอง
                          
                          ทฤษฎีการเรียนรู้ของ John B. Watson
                 -ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
                 -การวางเงื่อนไขพฤติกรรมเด็ก เป็นสิ่งที่สามารถกระทำได้ และผู้ใหญ่สามารถทีจะวางเงื่อนไขให้เด็กเกิดพฤติกรรม

นักพฤติกรรมนิยมเชื่อว่า
-   ภาษาเป็นกระบวนการภายในของมนุษย์
-   การเรียนภาษาเป็นผลจากการปรับพฤติกรรมโดยสิ่งแวดล้อม
-   เด็กเกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาษา
-   เด็กจะสังเกตและเลียนแบบพฤติกรรม เมื่อปฏิสัมพันธ์
-   เมื่อได้รับแรงเสริมจะทำให้เด็กเลียนแบบตัวแบบมากขึ้น

2.แนวคิดกลุ่มพัฒนาการทางสติปัญญา
                                       
                                        ทฤษฎีของ Piaget
-   เด็กเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
-   ภาษาเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นระดับพัฒนาการทางสติปัญญา
                           
                           ทฤษฎีของ Vygotsky
-   เด็กเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
-   สังคม บุคคลรอบข้าง มีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
-   เน้นบทบาทของผู้ใหญ่
-   ผู้ใหญ่ควรช่วยชี้แนะและขยายประสบการณ์ด้านภาษาของเด็ก
3.            แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อเรื่องความร่างกาย

                          ทฤษฎีของ Arnold Gesell
-   เน้นความพร้อมด้านร่างกายในการใช้ภาษา
-   ความพร้อม วุฒิภาวะของเด็กแต่ละคนไม่เท่ากัน
-   เด็กบางคนอาจมีความพร้อมทางร่างกายในการใช้ภาษาได้เร็ว
-   เด็กบางคนอาจมีปัญหาอวัยวะบางส่วนที่ใช้ภาษาในการสื่อสารบกพร่อง

4.แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อว่าภาษาติดตัวมาตั้งแต่เกิด

                           ทฤษฎี Noam Chomsky
-   ภาษาเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในตัวมนุษย์
-   การเรียนรู้ภาษาขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะ
-   มนุษย์เกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาษามาตั้งแต่เกิด เรียกว่า LAD (Language Acquisition Device)

                            ทฤษฎีของ O. Hobart Mowrer
-   คิดค้นทฤษฎีความพึงพอใจความสามารถในการฟังและเกิดความเพลิดเพลินจากการได้ยินเสียงผู้อื่น  และเสียงตัวเอง เป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อพัฒนาการทางภาษาแนวทางในการจัดประสบการณ์
     -   เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
     -   นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้อย่างแตกต่างกัน

Richard and Rodger (1995) ได้แบ่งมุมมองต่อภาษาในการจัดประสบการณ์ 3 กลุ่ม
1.            มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
-   นำองค์ประกอบย่อยของภาษา มาใช้ในการสื่อความหมาย
-   เสียง ไวยากรณ์ การประกอบคำเป็นวลี หรือประโยคมุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
-   เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือสำหรับสื่อความหมาย
-   การจัดประสบการณ์เน้นการสื่อความหมาย
-   ไม่ได้ละทิ้งแบบแผนหรือไวยากรณ์มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์
-   เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม
-   การแลกเปลี่ยนประสบการณ์

-   เด็กมีปฏิสัมพันธ์ผ่านการใช้ภาษา